วันจันทร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่  8   วันที่ 4 มกราคม 54

เนื้อหาที่เรียน
วันนี้เข้าเรียนสาย แต่ก็ไม่มาก
งานๆกำหนดส่ง วันที่ 11 .. 54
-                   งานพับคนละ 1 ชิ้น พับไปเล่าไป
-                   ให้ทำหนังสือเลมเล็กคนละ 1 เล่ม เพื่อเป็นสื่อในการสอนเด็ก ( ทำเรื่องอะไรก็ได้ หน้าแรกทำเป็นหน้าปก)
-                   อาจารย์ให้งานคือหารูปมาติดลงในกระดาษที่อาจารย์ให้มา คือ
ฉัน   ชอบ   กิน   อะไร    ?                      (หารูปอาหารที่ตนเองชอบกินมาใส่ในสี่เหลี่ยม)
-                   อาจารย์ให้เรียงตัวอักษรไทยจากรูป
-                   อาจารย์ยกตัวอย่างทำให้เด็กจำเลขได้ง่ายๆ
เช่นสอนให้เด็กนับเลขถ้านับเลข 1 ก็อาจจะวาดเป็นธงชาติ
นับเลข 2 ก็อาจจะวากเป็นเป็ด เป็นต้น
-                   อาจารย์ก็มีตัวอย่างภาษาที่แตกต่างกันมาให้ได้ศึกษา ซึ่งภาษาที่อาจารย์นำมาคือภาษาลาว เช่น

ภาษาไทย
ภาษาลาว

ไฟเขียว
ไฟแดง
ถ่ายเอกสาร
ร้านถ่ายรูป
ซุปเปอร์แมน
ห้องผ่าตัด
รถไฟ

ไฟอิสระ
ไฟอำนาจ
อัดเอกสาร
ร้านแหกตา
บักอึดถลาลม
ห้องปาด
ห้องแถวไหล



อาจารย์ยกตัวอย่างการเล่านิทานโดยการใช้มือเป็นสื่อ เช่น
-                   ผีเสื้อดูดน้ำหวาน
-                   งูกับกระต่าย

มนุษย์ใช้ภาษาในการสื่อสารระหว่างกันด้วยวิธีหลายรูปแบบ  วิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ การใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน ในการพัฒนาทักษะในการใช้ภาษา
เพียเจท์ พูดเกี่ยวกับพัฒนาการทางภาษาไว้ 3 ขั้น (  พูด 2 ขั้น )
1.             แรกเกิด – 2 ปี เด็กจะใช้ส่วนต่างๆของร่างกายมาก เพื่อรับรู้ และปรับความรู้เดิม
2.             2 – 6 ปี เด็กสามารถใช้ภาษาได้เป็นประโยคสั้นๆเมื่อตอนอายุ 2 ปี  เมื่อ 3 ปีขึ้นไปเด็กสามารถใช้ภาษาได้มากขึ้นการพูดก็เริ่มมีประธาน บลูมและลาเลย์ ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ 3 ประการ คือ
-                   ภาษาเป็นสัญลักษณ์หรือรหัส ( Code)  ใช้แทนสัตว์ สิ่งของสถานที่กิริยาอาการและเหตุการณ์  เช่น เดินกินขนม  
-                   ภาษาเป็นสัญลักษณ์ของมโนติกเกี่ยวกับโลกหรือประมวลประสบการณ์ เช่น  บ้าน ประเทศ  ความโศกเศร้า
-                   ภาษาเป็นระบบ โดยมีระบบกฎเกณฑ์ที่ค่อนข้างจะคงที่ เช่น มีคำที่เป็นประธาน กริยา กรรม
สรุป  ภาษา คือ สัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ในสังคมหนึ่งๆ สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน

องค์ประกอบของภาษา (Language Component)
      1. เสียง (pronnncidtion)
                1.1การอ่าน (phonetics)
           1.1.1สัญลักษณ์(graphetics)
           1.1.2 ตัวอักษร (graphology)
       1.2. ระบบเสียง (phonology)
2. ไวยกรณ์(grammar)
  2.1 คำ(porphology)
  2.2 ประโยค(syntax)
3. ความหมาย (meamg)
   3.1 คำศัพท์ (vocabulary)
   3.2 ประโยคข้อความ (discoursc)
จุดมุ่งหมายการสอนภาษามีดังนี้(Goodman and gooaman)
1.             จุดมุ่งหมายการใช้ภาษาเป็นที่การสื่อสรอย่างมีความหมาย
2.             จุดมุ่งหมายการฟังและประสบการณ์การอ่านเป็นที่การเข้าใจความหมาย
3.              จุดมุ่งหมายการพูดและประสบการณ์เขียน เน้นการสร้างหรือแสดงออกถึงความหมาย
ลักษณะของภาษาเนื้อหาภาษา ได้แก่
  • หัวข้อ
  • เนื้อเรื่อง
  • ความหมาย
บรรยากาศในห้องเรียน
 วันนี้สนุกมากๆเพราะอาจารย์นำภาษาของประเทศลาวมาให้เราได้รู้จักหลายพยางค์ ในห้องเรียนก็มีแต่เสียงหัวเราะทั้งชั่วโมงเรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น